SDGs 15. LIFE ON LAND

 
  • Neuroprotection of Andrographolide against Neurotoxin MPP+-Induced Apoptosis in SH-SY5Y Cells via Activating Mitophagy, Autophagy, and Antioxidant Activities

    Highlight สาร Andro มีฤทธิ์หลากหลายทางเภสัชวิทยา แต่ในการศึกษานี้ได้ศึกษาฤทธิ์ในการป้องกันการตายของเซลล์ประสาทสายพันธุ์นิวโรบลาสโตมา SH-SY5Y ที่จำลองแบบโรคพาร์กินสันโดยใช้สารพิษต่อระบบประสาท MMP+ การป้องกันนี้ได้ผ่านกระบวนการ mitophagy, กำจัดโปรตีน alpha-synuclein ผ่านทาง autophagy และ เพิ่มความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ทำให้สาร Andro มีคุณสมบัติที่จะเป็นอีกทางเลือกนึงในการป้องกันโรคพาร์กินสัน ที่มาและความสำคัญ โรคพาร์กินสัน เกี่ยวข้องกับการสูญเสียเซลล์โดปามีนและการรวมกันของ alpha-synuclein ซึ่งมีสาเหตุมาจากการสร้างสารอนุมูลอิสระที่มากเกินไปส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดปกติของไมโตคอนเดรียและกระบวนการออโตฟาจี (autophagy) ตามลำดับ ในปัจจุบันได้มีการศึกษาทางเภสัชวิทยาของสาร Andrographolide หรือ Andro […]

     
  •  
  • Antidiabetic potential of Lysiphyllum strychnifolium (Craib) A. Schmitz compounds in human intestinal epithelial Caco-2 cells and molecular docking-based approaches

    Highlight ในงานวิจัยนี้ พบว่าสารลำดับที่ 1 สามารถยับยั้งการทำงานของ α-amylase เหมือนกับสาร acarbose โดยมีค่า IC50 ประมาณ 3.32 ± 0.30 μg/mL และ 2.86 ± 0.10 μg/mL ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบสารที่ 2 มีการยังยั้งได้ปานกลางและมีค่า IC50 = 10.15 ± 0.53 μg/mL […]

     
  •  
  • Avian Embryonic Culture: A Perspective of In Ovo to Ex Ovo and In Vitro Studies

    Highlight การศึกษาการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอภายนอกตัวแม่หรือนอกครรภ์มีข้อจำกัดหากศึกษาในเอ็มบริโอกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งสามารถทดแทนได้ด้วยการใช้เอ็มบริโอสัตว์ปีกเป็นตัวต้นแบบในการศึกษา การใช้เทคนิคทางชีววิทยาการเจริญ ได้แก่ การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอในเปลือกไข่ (in ovo)  และนอกเปลือกไข่ (ex ovo) นำมาใช้ศึกษาการเจริญพัฒนาของเอ็มบริโอสัตว์ปีกจนถึงระยะฟัก และสร้างเซลล์ต้นกำเนิดชนิดพลูริโพเทนท์ (pluripotent stem cells, PSCs) ที่คัดแยกได้จากเอ็มบริโอระยะต้นไปจนถึงระยะฟักจากเปลือกไข่เพื่อนำไปเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการ (in vitro) การผนวกองค์ความรู้จากการใช้เทคนิคดังกล่าวสามารถประยุกต์ใช้ในการสร้างเซลล์ต้นกำเนิดหนี่ยวนำ (induced pluripotent stem cells, iPSCs) ตลอดจนสร้างธนาคารเซลล์ต้นกำเนิด (stem cell banking) […]

     
  •  
  • Image 1: The combined recombinant cathepsin L1H and cathepsin B3 vaccine against Fasciola gigantica

    The combined recombinant cathepsin L1H and cathepsin B3 vaccine against Fasciola gigantica

    ศักยภาพของวัคซีนร่วมจากโปรตีน cathepsin L1H และ B3 ในการต้านการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ Highlight: วัคซีนกลุ่ม (combined vaccine) ของโปรตีน cathepsin L1H และ B3 สามารถป้องกันการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับได้สูงกว่าวัคซีนเดี่ยว เมื่อทดสอบร่วมกับสารเสริมฤทธิ์ (adjuvant) ทั้ง 2 ชนิดคือ Alum และ Freund โดยสามารถป้องกันการติดเชื้อพยาธิได้ถึงร้อยละ 58.8 ถึง 75 ที่มาและความสำคัญการศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของวัคซีนที่กระตุ้นด้วยโปรตีน cathepsin […]

     
  •  
  • ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้ร่วมงานพระราชทานเพลิงศพฯ ร่างอาจารย์ใหญ่ (Soft cadaver) วันที่ 26 มีนาคม 2563

     
  • ภาควิชากายวิภาคศาสตร์ได้ดำเนินการฌาปนกิจร่างอาจารย์ใหญ่ (Soft cadaver) วันที่ 24 มีนาคม 2563