ขอบเขตงานวิจัย
งานวิจัยของภาควิชามีทั้งที่เป็นงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ที่เป็นเอกลักษณ์ดั้งเดิมของกายวิภาคศาสตร์ (traditional anatomy research) จนถึงงานวิจัยที่เป็นสหสาขา (multidisciplinary) ซึ่งมีทั้งที่มุ่งไปในทางใช้เทคนิคการวิจัย (technology-based
research) และที่เป็นการวิจัยเพื่อแก้ปัญหา (problem-based-research)
ตัวอย่างหัวข้องานวิจัยได้แก่
– Stem Cell Biology and Embryo Technology
– Cell and Molecular Biology of Parasitic Diseases
– Cell and Molecular Biology of Cancer
– Neuroscience
– Reproductive Biology of Economic Animals
– Shrimp Molecular Biology and Biotechnology
โครงการวิจัยในหัวข้อต่อไปนี้ เป็นโครงการที่กำลงดำเนินการโดยคณาจารย์ในภาควิชา หรือร่วมมือดำเนินวิจัยกับต่างสถาบัน หรือต่างประเทศ
1.1 เทคโนโลยีชีวภาพของกุ้งทะเล
1.2 การติดเชื่อไวรัสและการปฏิสัมพันธ์ระหว่างเชื้อกับเนื้อเยื่อในกุ้งทะเล
1.3 การศึกษาโมเลกุลที่เกี่ยวข้องกับระบบการปรับตัวของสัตว์น้ำต่อสิ่งแวดล้อม
1.4 การจำแนกชนิดของโมเลกุลในชิ้นเปลือกหอยทะเล และหอยมุกน้ำจืด
1.5 ขบวนการป้องกันเชื้อโรคในกุ้งทะเล และปลิงทะเล
2. ชีววิทยาระดับโมเลกุล
2.1 การพัฒนาของตัวอ่อน: การวิเคราะห์กลไกควบคุมและการปรับเปลี่ยนการแสดงออกของยีนโดย transcription factor
2.2 โมเลกุลวิทยาของเชื้อไข้เลือดออก (เด็กกี) และอนุพันธ์ของเชื้อ
2.3 การศึกษาสารสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสและมะเร็ง
3. ประสาทวิทยาศาสตร์
3.1 กลไกระดับเซลล์และโมเลกุลของการทำลายระบบประสาท
3.2 ประสาทวิทยาต่อมไร้ท่อของการควบคุมการเจริญเติบโตและระบบสือพันธุ์ในหอยและกุ้ง
3.3 การสร้างแผนที่ภาพถ่ายของสารสื่อประสาทและตัวรับในระบบประสาทส่วนกลางและระบบสืบพันธ์ของหอยและกุ้ง
3.4 การศึกษาการเสื่อมสลายของแซลล์ประสาท
3.5 พยาธิวิทยาของการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทยนต์
3.6 แบบแผนการแสดงออกของยีนในโรคที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
4. ชีววิทยาเซลล์ต้นกำเนิดและเทคโนโลยีการขนถ่ายตัวอ่อน
4.1 เซลล์ต้นกำเนิดจากตัวอ่อนเพื่อการรักษาและการใช้ในสัตว์ดัดแปลงพันธุกรรม
4.2 การศึกษาพันธุกรรมของสัตว์ที่ดัดแปลงพันธุกรรมสำหรับโรค Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
4.3 เซลล์ต้นกำเนิดของระบบการได้ยิน และการทำพันธุวิศวกรรมของเนื้อเยื่อเพื่อการปลูกถ่าย
4.4 การแช่แข็งเซลล์สืบพันธุ์ และตัวอ่อนของสัตว์น้ำเศรษฐกิจและสัตว์บก
4.5 เซลล์ตันกำเนิดจากไขกระดูกสำหรับการศึกษาโรคเส้นเลือดโลหิตในสมองแตก
5. ชีวิทยาระบบสืบพันธุ์ และระบบประสาทต่อมไร้ท่อ
5.1 การปรับเปลี่ยนระบบต่อมไร่ท่อในหอยทะเลและปูทะเลเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสัตว์น้ำ
5.2 การจำแนกชนิดและการการจายตัวของสารสื่อประสาทและฮอร์โมนในระบบประสาทและระบบสืบพันธุ์ของสัตว์น้ำ
5.3 กลไกระดับโมเลกุลของขบวนการเพิ่มประสิทธิภาพและการเตรีมพร้อมในการสืบพันธุ์ของเซลล์สืบพันธ์
5.4 โมเลกุลไขมันบนผิวเซลล์สืบพันธุ์ และขบวนการถ่ายทอดสัญญาณภายในเซลล์ในขั้นตอนการปฏิสนธิ
5.5 การปรับเปลี่ยนพันธุกรรฒของสัตว์น้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสืบพันธ์6
6. โรคเขตร้อน
6.1 พยาธิภูมิคุ้มกัน และการจำแนกชนิดของแอนติเจนที่เป็นประโยชน์ต่อการวิจัยโรคพยาธิและการพัฒนาวัคซีน
6.2 การค้นหาสารสกัดธรรมชาติเพื่อรักษาการติดโรคพยาธิในสัตว์น้ำ
7. การวิจัยมะเร็ง
7.1 การติดต่อระหว่างเซลล์มะเร็งและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันรอบเซลล์ที่เกี่ยวข้องการกระจายตัวและการแทรกซึมของเซลล์มะเร็ง
7.2 การวิเคราะห์การแสดงออกของยีน elongation factor 1A2 ในมะเร็งชนิดต่างๆ
8. มหกายวิภาคศาสตร์
8.1 การวิจัยเกี่ยวกับการฝังชื้นเนื้อในพลาสติก ( embalming and plastivation )