Chinnawut Suriyonplengsaeng

 
  • Unravelling a pediatric enigma: coexisting retroesophageal right subclavian artery and congenital colonic stenosis masquerading as cow’s milk protein allergy and ileus in a neonate

    ชื่องานวิจัยภาษาไทย โรคหลอดเลือดใต้กระดูกไหปลาร้าด้านขวาทอดตัวหลังหลอดอาหารร่วมกับลำไส้ใหญ่ตีบแต่กำเนิดซึ่งแสดงอาการคล้ายโรคแพ้โปรตีนนมวัวและภาวะท้องอืดในทารกแรกเกิด Highlight รางานฉบับแรกของโรคหลอดเลือดใต้กระดูกไหปลาร้าด้านขวาทอดตัวหลังหลอดอาหารร่วมกับลำไส้ใหญ่ตีบแต่กำเนิดซึ่งแสดงอาการคล้ายโรคแพ้โปรตีนนมวัวและภาวะท้องอืดในทารกแรกเกิด ที่มาและความสำคัญ รายงานฉบับนี้นำเสนอกรณีศึกษาที่หายากและซับซ้อนของทารกแรกเกิดไทยคนหนึ่ง ซึ่งมีโรคผิดปกติแต่กำเนิดสองตำแหน่งในระบบทางเดินอาหารซึ่งไม่เคยมีรายงานพบร่วมกันมาก่อน ได้แก่ โรค Retroesophageal right subclavian artery และ Congenital colonic stenosis ซึ่งมีอาการคล้ายโรคที่พบได้บ่อย เช่น โรคแพ้โปรตีนนมวัวหรือภาวะท้องอืดจากการติดเชื้อ ส่งผลให้เกิดการวินิจฉัยผิดพลาด กรณีนี้ได้เน้นย้ำถึงความสำคัญของการตระหนักถึงโรคแต่กำเนิดที่พบได้น้อยแต่มีผลกระทบรุนแรง ซึ่งหากตรวจพบได้ตั้งแต่เนิ่น ๆ จะช่วยหลีกเลี่ยงการวินิจฉัยผิดและเพิ่มโอกาสในการรักษาทารกในกรณีคล้ายกันในอนาคต Fig 1. (A) Abdominal X-ray at […]

     
  •  
  • Adding MYC/BCL2 double expression to NCCN-IPI may not improve prognostic value to an acceptable level

    ชื่องานวิจัยภาษาไทย การเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 ในสูตร NCCN-IPI อาจไม่เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์โรคให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ Highlight การเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 ในสูตร NCCN-IPI อาจไม่เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์โรคให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ที่มาและความสำคัญ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด DLBCL ที่มีการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 จะมีความรุนแรงมากและมีอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยน้อย คณะวิจัยจึงได้นำข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยโรคนี้จำนวน 111 คน วิเคราะห์ทางสถิติและพบว่าการเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ […]

     
  •  
  • The Anatomical Relationship Between the Cervical Nerve Roots, Intervertebral Discs and Bony Cervical Landmark for Posterior Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy: A Cadaveric Study

    ชื่องานวิจัยภาษาไทย มหกายวิภาคศาสตร์ระหว่างรากประสาทระดับคอ หมอนรองกระดูกและกระดูกสันหลังระดับคอสำหรับการผ่าตัดด้วยวิธี Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy ในอาจารย์ใหญ่นุ่มเสมือนจริง Highlight การศึกษาระยะตัดกระดูกสันหลังที่ปลอดภัยสำหรับรักษาโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทในอาจารย์ใหญ่แบบนิ่มเสมือนจริง ที่มาและความสำคัญ ศัลยแพทย์ปัจจุบันนิยมผ่าตัดรักษาผู้ป่วยโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทด้วยวิธี posterior endoscopic cervical foraminotomy หรือ discectomy (PECF หรือ PECD) มากขึ้น ทว่าองค์ความรู้เกี่ยวกับจุดสังเกตทางกายวิภาคเพื่อความปลอดภัยในการผ่าตัดนำกระดูกบางส่วนออกเพื่อลดการกดทับเส้นประสาทยังมีอยู่อย่างจำกัด Abstract This study investigates the relationships […]

     
  •  
  • The superficial peroneal neurocutaneous flap: a cadaveric study

    Highlight การรักษาแผลที่ข้อเท้าโดยการปลูกถ่ายผิวหนังและเนื้อเยื่อจากหลังเท้าในอาจารย์ใหญ่แบบนิ่มเสมือนจริง ที่มาและความสำคัญ บาดแผลบริเวณข้อเท้าที่ตื้นและเล็กสามารถรักษาโดยการเย็บปิดแผลปกติ แต่บาดแผลที่ลึกจนถึงเส้นเอ็นหรือกระดูกและกว้างเกินกว่าที่จะเย็บปิดควรรักษาด้วยการปลูกถ่ายผิวหนังและเนื้อเยื่อจากบริเวณใกล้เคียงกับแผลซึ่งจะให้ผลการรักษาที่ดีกว่า ผู้วิจัยได้ศึกษาผิวหนังและเนื้อเยื่อบริเวณหลังเท้าซึ่งถูกเลี้ยงโดยแขนงเส้นประสาทและแขนงหลอดเลือดจำเพาะเพื่อปลูกถ่ายทดแทนบริเวณแผลที่ข้อเท้าในร่างอาจารย์ใหญ่แบบนิ่มเสมือนจริง ข้อดีของการใช้ผิวหนังและเนื้อเยื่อบริเวณหลังเท้าเพื่อรักษาแผลที่ข้อเท้า ได้แก่ เนื้อเยื่อหลังเท้ามีขนาดบางเพราะไขมันใต้ผิวหนังน้อยทำให้หลังปลูกถ่ายที่ข้อเท้าแล้วไม่ขัดขวางการเคลื่อนไหวของข้อเท้าและการสวมใส่รองเท้า ทั้งเนื้อเยื่อที่ปลูกถ่ายมีเส้นประสาทเลี้ยงจึงทำให้ผิวหนังบริเวณที่ปลูกถ่ายทดแทนสามารถรับความรู้สึกได้ และเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อที่หลังเท้า ณ ตำแหน่งเดิมยังเป็นปกติเนื่องจากหลอดเลือดหลักที่เลี้ยงเท้ายังคงอยู่ Abstract Background Soft tissue defects around the ankle are common and must be covered with thin and […]

     
  •  
  • Inhibition of serine/arginine-rich protein kinase-1 (SRPK1) prevents cholangiocarcinoma cells induced angiogenesis