SDGs
-
Cross-Sectional Area of the Tibial Nerve in Diabetic Peripheral Neuropathy Patients: A Systematic Review and Meta-Analysis of Ultrasonography Studies
Highlight พื้นที่ตัดขวาง หรือ cross-sectional area ของเส้นประสาท tibial บริเวณข้อเท้ามีขนาดใหญ่กว่าในกลุ่มประชากรที่ป่วยด้วยโรคเส้นประสาทส่วนปลายจากโรคเบาหวานเมื่อเทียบกับผู้ป่วยเบาหวานระยะเริ่มต้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ซึ่งสามารถนำไปใช้เพื่อคัดกรองโรคเส้นประสาทส่วนปลายตั้งแต่เนิ่น ๆ ที่มาและความสำคัญ โรคเส้นประสาทส่วนปลายจากโรคเบาหวาน หรือ diabetic peripheral neuropathy (DPN) เป็นโรคแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยที่สุดในผู้ป่วยเบาหวาน แม้ว่าการศึกษาการนำกระแสประสาท (nerve conduction studies) ยังคงเป็นมาตรฐานสำหรับการวินิจฉัยโรค DPN แต่ก็ใช้เวลานาน มีค่าใช้จ่ายสูงซึ่งไม่เหมาะกับการนำมาตรวจคัดกรอง ดังนั้นจึงจำเป็นต้องมีเครื่องมือที่ง่ายกว่าสำหรับการวินิจฉัย DPN โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิ การศึกษาก่อนหน้าหลายฉบับพบว่าพื้นที่ตัดขวาง […]
-
The presence and distribution of gamma-aminobutyric acid and dopamine during the developmental stages of the sea cucumber, Holothuria scabra, with emphasis on settlement organs
การศึกษาการปรากฎและการกระจายของ GABA และ dopamine ในอวัยวะที่ช่วยในการลงเกาะของลูกปลิงทะเลขาว Holothuria scabra Highlight: ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบการปรากฏและการกระจายของ GABA และ DA ในระยะตัวอ่อนขั้นต่างๆของ H. scabra โดยได้เน้นศึกษาเป็นพิเศษที่อวัยวะที่ช่วยในการลงเกาะ (settlement organs, SOs) ซึ่งพบว่า มีการปรากฏ และการกระจายแบบจำเพาะของเซลล์และเส้นใย GABA และ DA ในโครงสร้าง SO หลายโครงสร้าง รวมถึง […]
-
The effects of short neuropeptide F on ovarian maturation and spawning in female giant freshwater prawn, Macrobrachium rosenbergii, and associated regulatory mechanisms
การศึกษาผลของ short neuropeptide F ต่อการพัฒนาของรังไข่ การตกไข่ และกลไกการควบคุม ในกุ้งก้ามกรามเพศเมีย Macrobrachium rosenbergii Highlight: คณะผู้วิจัยได้พบองค์ความรู้พื้นฐานใหม่ที่สำคัญคือ short neuropeptide F (Mro-sNPF) มีผลต่อการพัฒนาของรังไข่และการตกไข่ในกุ้งก้ามกรามเพศเมีย Macrobrachium rosenbergii โดยพบว่า เปปไทด์ Mro-sNPF ทำให้ระยะเวลาการพัฒนาของรังไข่สั้นลง เพิ่มดัชนีโกนาโดโซมาติก (GSI) เพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางไข่ (OD) และการเพิ่มจำนวนการแบ่งเซลล์ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม (P<0.05) […]
-
Neuroprotection of Andrographolide against Neurotoxin MPP+-Induced Apoptosis in SH-SY5Y Cells via Activating Mitophagy, Autophagy, and Antioxidant Activities
Highlight สาร Andro มีฤทธิ์หลากหลายทางเภสัชวิทยา แต่ในการศึกษานี้ได้ศึกษาฤทธิ์ในการป้องกันการตายของเซลล์ประสาทสายพันธุ์นิวโรบลาสโตมา SH-SY5Y ที่จำลองแบบโรคพาร์กินสันโดยใช้สารพิษต่อระบบประสาท MMP+ การป้องกันนี้ได้ผ่านกระบวนการ mitophagy, กำจัดโปรตีน alpha-synuclein ผ่านทาง autophagy และ เพิ่มความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระ ทำให้สาร Andro มีคุณสมบัติที่จะเป็นอีกทางเลือกนึงในการป้องกันโรคพาร์กินสัน ที่มาและความสำคัญ โรคพาร์กินสัน เกี่ยวข้องกับการสูญเสียเซลล์โดปามีนและการรวมกันของ alpha-synuclein ซึ่งมีสาเหตุมาจากการสร้างสารอนุมูลอิสระที่มากเกินไปส่งผลให้เกิดการทำงานที่ผิดปกติของไมโตคอนเดรียและกระบวนการออโตฟาจี (autophagy) ตามลำดับ ในปัจจุบันได้มีการศึกษาทางเภสัชวิทยาของสาร Andrographolide หรือ Andro […]
-
-
-
-
-
-