Post Tagged with: "anatomical variation"
-
Anatomical study and meta-analysis of the episternal ossicles
Highlight การศึกษานี้ประกอบด้วยการศึกษาจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computed tomography) และการวิเคราะห์อภิมานจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิก 3 แหล่งได้แก่ Google Scholar, PubMed, and Journal Storage ผลงานวิจัยพบว่า จากคนไข้จำนวน 7,997 รายจากผลงานตีพิมพ์กว่า 16 ฉบับ episternal ossicles มีความชุกอยู่ที่ 2.1% โดยการศึกษาด้วย X-ray มีความชุกสูงสุดอยู่ที่ 7% และประชากรเอเชียมีความชุกของ episternal ossicles […]
-
Basilar tubercles and eminences of the clivus: Novel anatomical entities
Highlight จากการศึกษาจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computed tomography) จากผู้ป่วยรวม 407 ราย ผู้วิจัยพบปุ่มกระดูกที่ยังไม่มีการอธิบายมาก่อนในส่วนบนของกระดูก clivus ในผู้ป่วย 40 รายหรือร้อยละ 9.8 โดยปุ่มกระดูกนี้วางตัวอยู่ระว่าง dorsum sallae และ foramen magnum ปุ่มกระดูกชนิดใหม่นี้สามารถจำแนกได้เป็นสามประเภท ได้แก่ single double และ triple โดยชนิด single มีความชุกที่ร้อยละ 8.7 ชนิด […]
-
Topographical study of scapular foramina and scapular nutrient foramina in dried skeletons
Highlight งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาความชุกและสัณฐานของรูเปิดบนกระดูกสะบักหรือ scapular foramina และใช้การสแกนสามมิติและเทคโนโลยี AR ซึ่งเป็นมิติใหม่ของการนำเสนอผลงานวิจัยทางกายวิภาคและอาจเป็นมาตรฐานใหม่ในอนาคต ที่มาและความสำคัญ การมีอยู่ของรู scapular foramina อาจสับสนกับการหักของกระดูกสะบักเมื่อวินิจฉัยจากภาพรังสี การรับรู้ถึงตำแหน่งของ scapular nutrient foramina มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเพื่อป้องกันความเสียหายต่อหลอดเลือด nutrient vessels เมื่อทำหัตการบริเวณกระดูกสะบัก งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาความชุกและสัณฐานของรูเปิดและรูสารอาหารของกระดูกสะบัก โดยใช้กระดูกสะบักจำนวนทั้งสิ้น 150 ชิ้น การศึกษาก่อนหน้าพบว่ารูเปิดบนกระดูกสะบัก หรือ scapular foramina เป็นรูเปิดที่เชื่อมพื้นผิวแต่ละด้านของกระดูกสะบัก ซึ่งเป็นโครงสร้างแปรผันทางกายวิภาค […]
-
The prevalence of Stafne bone cavity: A meta-analysis of 355,890 individuals
Highlight งานวิจัยนี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน เพื่อศึกษาความชุกของโพรงกระดูก Stafne เพื่อนำมาวิเคราะห์อภิมาน จากจำนวนตัวอย่างรวม 355,890 ราย สรุปได้ว่าความชุกของโพรงกระดูก Stafne อยู่ที่ร้อยละ 0.17 และมีความชุกในเพศชายมากกว่าเพศหญิงถึงห้าเท่าและพบได้ในประชากรโบราณมากกว่าประชากรปัจจุบันถึงสามเท่า ที่มาและความสำคัญ โพรงกระดูก Stafne เป็นความบกพร่องที่ไม่แสดงอาการในพื้นผิวด้านในของกระดูกขากรรไกรล่าง ซึ่งได้รับการตั้งชื่อตาม Edward C. Stafne ในปี 1942 โครงสร้างนี้นับเป็นความแปรผันทางกายวิภาค (anatomical variation) เนื่องจากมักไม่แสดงอาการ ความรู้และความตระหนักของโพรงกระดูก Stafne มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับทันตแพทย์ […]
-
-
Classification and morphometric features of pterion in Thai population with potential sex prediction