Post Tagged with: "Biomineralization"

 
  • Calcineurin subunit B is involved in shell regeneration in Haliotis diversicolor

    แคลซินิวรินบี เกี่ยวข้องกับการสร้างเปลือกหอยเป๋าฮื้อ Highlight: คุณสมบัติของเปลือกหอยจะประกอบด้วยชั้นของแคลเซียมคาร์บอเนต ที่กระจายอยู่ในแต่ละชั้นย่อยของเปลือกหอย โดยการเรียงตัวของสารเกลือแร่เหล่านี้จะถูกควบคุมโดยยีนและโปรตีนที่สร้างออกมาจากเนื้อเยื่อส่วนแมนเทิลที่อยู่ใต้เปลือกหอยนั่นเอง ในการทดลองนี้ เราได้จำลองกระบวนการการทำลายขอบของเปลือกหอย และทดสอบความเกี่ยวข้องของยีนแคลซินูริน ชนิดเอ และ บี (HcCNA & HcCNB) ในการกระตุ้นการสร้างเปลือกทดแทน ผลการทดลองพบว่า ในหอยที่มีการทำลายขอบของเปลือก จะมีระดับยีนของ HcCNB มีการเพิ่มจำนวนสูงมาก เมื่อเทียบกับยีนส์ HcCNA การทดลองฉีดโปรตีน recHcCNB ที่สร้างจากกระบวนการพันธุวิศวกรรม มีผลในการกระตุ้นการเจริญของเปลือกในบริเวณที่ถูกทำลายได้เป็นอย่างดี เมื่อเทียบกับกลุ่มตัวอย่างควบคุม การสังเกตด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบส่องกราด (SEM) […]

     
  •  
  • Bone Morphogenetic Protein 2/4 in Mollusk, Haliotis diversicolor: Its Expression and Osteoinductive Function In Vitro

    โบนมอฟอจีนีสิส โปรตีน 2/4 ในหอยเป๋าฮื้อ (HdBMP2/4) การแสดงออกและการเหนี่ยวนำการสร้างกระดูกในหลอดทดลอง Highlight: โปรตีนสังเคราะห์ธรอมโบสปอนดินที่ได้จากเนื้อเยื่อแมนเทิลของหอยเป๋าฮื้อที่สามารถจับกับ TGF-beta สามารถเหนี่ยวนำการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกระดูกได้ จึงความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเป็นสารเร่งการซ่อมแซมกระดูกได้ Abstract Bone morphogenetic proteins (BMPs), which are members of the superfamily of transforming growth factor-β (TGF-β), are known both […]

     
  •  
  • Characterization of Thrombospondin Type 1 Repeat in Haliotis Diversicolor and its Possible Role in Osteoinduction

    Charaterization of Thrombospondin Type 1 Repeat in Haliotis diversicolor and Its Possible Role in Osteoinduction

    การศึกษาคุณลักษณะของธรอมโบสปอนดิน ชนิดที่ 1 ซ้ำ (Thrombospondin Type 1 Repeat) ในหอยเป๋าฮื้อ ที่มีบทบาทในการเหนี่ยวนำการสร้างกระดูก Highlight: โปรตีนสังเคราะห์ธรอมโบสปอนดินที่ได้จากเนื้อเยื่อแมนเทิลของหอยเป๋าฮื้อที่สามารถจับกับ TGF-beta สามารถเหนี่ยวนำการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างกระดูกได้ จึงความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเป็นสารเร่งการซ่อมแซมกระดูกได้ ที่มาและความสำคัญ จากการศึกษา Transcriptome ที่ได้จาก mantle tissue ของหอยเป๋าฮื้อ พบธรอมโบสปอนดิน (trobospondin) เป็นยีนที่ปรากฎเป็นส่วนหนึ่งของยีน ADAMTS3 ที่จะถูกเปลี่ยนเป็นโปรตีนที่อยู่ที่เยื่อหุ้มเซลล์ และอยู่นอกเซลล์ มีคุณสมบัติจับตัวกับ TGF-beta […]

     
  •