SDGs 15. LIFE ON LAND
-
Enhancing intestinal tight junction assembly by gallic acid as a subcellular basis for the pharmacological effect of Ocimum sanctum L. flower aqueous extract
Highlight การศึกษานี้พบว่าสารสกัดน้ำจากดอกกะเพรา (Ocimum sanctum L.) และกรดแกลลิกช่วยเพิ่มการรวมตัวของ tight junction ในเยื่อบุลำไส้ โดยผ่านกลไกที่เกี่ยวข้องกับ CaMKKβ/AMPK/SIRT-1/ERK ผลการศึกษามีศักยภาพต่อการพัฒนายาเพื่อรักษาโรคที่เกี่ยวข้องกับการเสียหายของ tight junction ที่มาและความสำคัญ สารสกัดน้ำจากดอกของต้นกะเพรา (Ocimum sanctum L.) มีสารประกอบฟีนอลิก เช่น กรดแกลลิก (gallic acid) และกรดคลอโรจีนิก ซึ่งมีบทบาทสำคัญในการปรับปรุงการทำงานของ tight junction ในเซลล์เยื่อบุลำไส้ การทำงานของ […]
-
A Bird’s-Eye View of Endangered Species Conservation: Avian Genomics and Stem Cell Approaches for Green Peafowl (Pavo muticus)
Highlight ประมาณ 12% ของจำนวนประชากรสัตว์ปีกถูกคุกคามจนมีสถานะเข้าใกล้สูญพันธุ์ นกยูงไทยหรือนกยูงเขียวเป็นหนึ่งในสัตว์ปีกชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ เนื่องจากจำนวนประชากรลดลงมากจากหลายปัจจัยเช่น พื้นที่อาศัยถูกทำลาย การปนเปื้อนทางพันธุกรรมจากนกยูงอินเดีย การล่าเพื่อเอาขนและเนื้อเป็นต้น การรายงานครั้งนี้กล่าวถึงชีววิทยาของนกยูงไทยในมุมมองของกายวิภาคและเอ็มบริโอโลยีเชิงเปรียบเทียบ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความสำคัญของการใช้ประโยชน์ของเทคโนโลยีโอมิกส์ในสัตว์ปีกเพื่อเก็บไว้เป็นแหล่งข้อมูลทางพันธุกรรม และเทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิดโดยเฉพาะเซลล์ต้นกำเนิดเหนี่ยวนำเพื่อประยุกต์ใช้ในการอนุรักษ์นกยูงไทยและสัตว์ปีกชนิดอื่นที่ใกล้สูญพันธุ์ต่อไป ที่มาและความสำคัญ สัตว์ปีกจัดอยู่ในกลุ่มที่มีจำนวนสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์และสูญพันธุ์ไปแล้วสูงเป็นลำดับที่สองของอาณาจักรสัตว์ เป็นที่น่าสังเกตว่าองค์กร IUCN จัดนกยูงไทยหรือนกยูงเขียวไว้ในรายชื่อบัญชีแดงของสิ่งมีชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ การรายงานครั้งนี้มุ่งเน้นถึงประโยชน์ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์และการสืบพันธุ์เพื่อการอนุรักษ์สัตว์ปีกชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์ เทคโนโลยีดังกล่าวยังสามารถใช้ทำนายแนวโน้มของจำนวนประชากรนกยูงไทยในป่าและช่วยในการผสมพันธุ์นกยูงไทยนอกเขตพื้นที่อาศัย นอกจากนี้การใช้ประโยชน์จากการเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ทางพันธุกรรมเป็นอีกทางหนึ่งในการช่วยอนุรักษ์สัตว์ปีกชนิดดังกล่าวในรูปแบบของการเก็บลำดับสารพันธุกรรมไว้เป็นธนาคารชีวภาพ อีกทั้งการวิเคราะห์ลำดับสารพันธุกรรมยังช่วยจำแนกนกยูงไทยแต่ละชนิดได้ถูกต้องเพื่อใช้เพิ่มจำนวนชนิดพันธุ์ การรายงานครั้งนี้ยังกล่าวถึงจีโนมิกส์สัตว์ปีกและการใช้เทคโนโลยีเซลล์ต้นกำเนิดเพื่อเป็นความหวังในการอนุรักษ์สัตว์ปีกชนิดที่ใกล้สูญพันธุ์เช่นนกยูงไทย และชนิดอื่นที่ถูกคุกคามจนมีสถานะที่เข้าค่ายใกล้สูญพันธุ์ Abstract Aves ranks among the top two […]
-
Adding MYC/BCL2 double expression to NCCN-IPI may not improve prognostic value to an acceptable level
ชื่องานวิจัยภาษาไทย การเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 ในสูตร NCCN-IPI อาจไม่เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์โรคให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ Highlight การเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 ในสูตร NCCN-IPI อาจไม่เพิ่มประสิทธิภาพการพยากรณ์โรคให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ที่มาและความสำคัญ มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด DLBCL ที่มีการแสดงออกของโปรตีน MYC และ BCL2 จะมีความรุนแรงมากและมีอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยน้อย คณะวิจัยจึงได้นำข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยโรคนี้จำนวน 111 คน วิเคราะห์ทางสถิติและพบว่าการเพิ่มการแสดงออกของโปรตีน MYC และ […]
-
The Anatomical Relationship Between the Cervical Nerve Roots, Intervertebral Discs and Bony Cervical Landmark for Posterior Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy: A Cadaveric Study
ชื่องานวิจัยภาษาไทย มหกายวิภาคศาสตร์ระหว่างรากประสาทระดับคอ หมอนรองกระดูกและกระดูกสันหลังระดับคอสำหรับการผ่าตัดด้วยวิธี Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy ในอาจารย์ใหญ่นุ่มเสมือนจริง Highlight การศึกษาระยะตัดกระดูกสันหลังที่ปลอดภัยสำหรับรักษาโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทในอาจารย์ใหญ่แบบนิ่มเสมือนจริง ที่มาและความสำคัญ ศัลยแพทย์ปัจจุบันนิยมผ่าตัดรักษาผู้ป่วยโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทด้วยวิธี posterior endoscopic cervical foraminotomy หรือ discectomy (PECF หรือ PECD) มากขึ้น ทว่าองค์ความรู้เกี่ยวกับจุดสังเกตทางกายวิภาคเพื่อความปลอดภัยในการผ่าตัดนำกระดูกบางส่วนออกเพื่อลดการกดทับเส้นประสาทยังมีอยู่อย่างจำกัด Abstract This study investigates the relationships […]
-
-
-
-
-
-