SDGs 3. GOOD HEALTH AND WELL-BEING
-
Functional Remodeling of the Contractile Smooth Muscle Cell Cortex, a Provocative Concept, Supported by Direct Visualization of Cortical Remodeling
Highlight: การปรับสภาพของโครงสร้างเซลล์กล้ามเนื้อเรียบที่บุผนังหลอดเลือด (vascular smooth muscle cell) แสดงลักษณะการแตกแขนงของกลุ่มเส้นใยแอคติน (cortical actin cytoskeleton) และกลุ่มโปรตีนที่เกาะ (focal adhesion proteins) ได้แก่ talin, zyxin, filamin A ในบริเวณชิดขอบเซลล์ในสภาวะปกติและเมื่อเซลล์ถูกกระตุ้นการหดตัวด้วย phenylephrine ถูกศึกษาโดยใช้เทคนิคย้อมอิมมูโนภายในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบและเคลือบผิวเซลล์ด้วยแผ่นคาร์บอนบาง เพื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน ที่มาและความสำคัญ เส้นใยแอคตินมีบทบาทสำคัญต่อการหดตัวของเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ โดยทำงานร่วมกับเส้นใยไมโอซินในการเกิดครอสบริดจ์ นอกจากนี้เส้นใยแอคตินยังส่งแรงอันมีผลต่อการหดตัวของเซลล์ต่อไปยังสารเคลือบนอกเซลล์และไปยังเซลล์ที่อยู่ข้างเคียง ปัจจัยที่มีผลต่อแรงของการหดตัวจึงถูกควบคุมเริ่มต้นมาจากเส้นใยแอคตินที่อยู่บริเวณชิดขอบเซลล์ (cortical actin […]
-
A pictorial account of the human embryonic heart between 3.5 and 8 weeks of development
Highlight: พัฒนาการของหัวใจที่สามารถติดตามได้ด้วยตัวเองผ่านภาพสามมิติที่สามารถหมุนดูเพื่อศึกษาพร้อมรายละเอียดพัฒนาการของหัวใจทั้งเชิงโครงสร้างและเชิงการปริมาณเปรียบเทียบ นำไปสู่พลวัตพัฒนาการของหัวใจที่ชัดเจนมากขึ้นกว่าในตำราทั่วไป ที่มาและความสำคัญ หัวใจเป็นโครงสร้างที่มีความซับซ้อนในการพัฒนาระหว่างอยู่ในครรภ์เป็นอย่างมากในตัวอ่อนมนุษย์ เนื่องจากพัฒนาการของหัวใจมีความเป็นสามมิติสูงมาก จากท่อตรง ๆ เกิดการขดงอต่าง ๆ จนได้ออกมาเป็นรูปร่างที่พบในมนุษย์ อีกทั้งโครงสร้างภายในเองยังมีการเจริญที่ต้องมีการสอดประสานกันอย่างเหมาะสมเพื่อให้ห้องตัวใจและหลอดเลือดเข้าและออกจากหัวใจทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์เมื่อแรกคลอด ดังนั้นการเข้าใจกลไกพัฒนาการที่ชัดเจนมากขึ้นนำไปสู่การต่อยอดทางการแพทย์ในการอธิบายและรักษาพัฒนาการที่ผิดปกติของหัวใจในตัวอ่อนมนุษย์ได้ดียิ่งขึ้น Abstract Heart development is topographically complex and requires visualization to understand its progression. No comprehensive 3-dimensional primer […]
-
In vitro evaluation of wound healing potential of sulfated galactans from red alga Gracilaria fisheri in fibroblast cells
Highlight: การปรับโครงสร้างสารสกัดธรรมชาติซัลเฟตกาแลคแตน (NSG) จากสาหร่ายผมนางที่มีขนาดใหญ่ด้วยกรด trifluoroacetic acid ได้สารซัลเฟตกาแลคแตนที่มีน้ำหนักโมเลกุลขนาดเล็ก (LMSG) ที่มีหมู่เคมีออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงขึ้นและป้องกันการตายของเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากการกระตุ้นด้วยสารกระตุ้น oxidative stress (H2O2 ) ที่มาและความสำคัญ สาหร่ายสายพันธุ์ Gracilaria มีฤทธิ์สำคัญทางเภสัชวิทยาและใช้ปิดปากแผลเพื่อช่วยสมานแผลในการแพทย์แผนโบราณ ในการศึกษาครั้งนี้ศึกษาประสิทธิภาพในการปิดบาดแผลและกลไกการทำงานของสารซัลเฟตกาแลคแตนจากสาหร่ายผมนาง Gracilaria fisheri โดยศึกษาในเซลล์เพาะเลี้ยงไฟโบรบลาสต์ Abstract Red alga Gracilaria species have been reported various […]
-
Structural characterization, antioxidant activity, and protective effect against hydrogen peroxide-induced oxidative stress of chemically degraded Gracilaria fisheri sulfated galactans
Highlight: การปรับโครงสร้างสารสกัดธรรมชาติซัลเฟตกาแลคแตน (NSG) จากสาหร่ายผมนางที่มีขนาดใหญ่ด้วยกรด trifluoroacetic acid ได้สารซัลเฟตกาแลคแตนที่มีน้ำหนักโมเลกุลขนาดเล็ก (LMSG) ที่มีหมู่เคมีออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงขึ้นและป้องกันการตายของเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากการกระตุ้นด้วยสารกระตุ้น oxidative stress (H2O2 ) ที่มาและความสำคัญ สารซัลเฟตโพลิแซคคาไรด์มีฤทธิ์ทางชีวภาพที่หลากหลาย เช่น การยับยั้งกระบวนการออกซิเดชัน ซึ่งฤทธิ์ทางชีวภาพมีความสัมพันธ์กับน้ำหนักโมเลกุลและโครงสร้างทางเคมี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับโครงสร้างสารซัลเฟตกาแลคแตนที่สกัดธรรมชาติจากสาหร่ายผมนาง (NSG) น้ำหนักโมเลกุล 217.45 kDa โดยการย่อยด้วยกรด trifluoroacetic acid (TFA) ที่มีความเข้มข้นต่าง ๆ กัน […]
-
-
Classification and morphometric features of pterion in Thai population with potential sex prediction
-
-
-
-