Post Tagged with: "Anatomical variations"

 
  • Twenty Intracranial Skull Base Variations in the Same Specimen

    Highlight การมีโครงสร้างแปรผันถึงมากถึง 20 โครงสร้างในกะโหลกชิ้นเดียวเป็นสิ่งที่น่าสังเกตและยังไม่เคยมีการอธิบายไว้ก่อนหน้านี้ ตัวอย่างกะโหลกที่พบนี้มีคุณค่าทางกายวิภาคศาสตร์และการแพทย์เป็นอย่างยิ่ง ที่มาและความสำคัญ นักกายวิภาคศาสตร์และแพทย์มักพบโครงสร้างแปรผันทางกายวิภาคเมื่อศึกษารูและรอยแยกต่าง ๆ กะโหลก อย่างไรก็ตาม การมีโครงสร้างแปรผันถึงมากถึง 20 โครงสร้างในกะโหลกชิ้นเดียวเป็นสิ่งที่น่าสังเกตและยังไม่เคยมีการอธิบายไว้ก่อนหน้านี้ ในรายงานฉบับนี้ เราพบโครงสร้างแปรผันจำนวน 20 โครงสร้างในกะโหลกศีรษะของผู้บริจาคร่างกาย ประกอบด้วย clival canals, an interclinoid bar with resultant foramen at the uppermost aspect […]

     
  •  
  • Anatomical Variants Identified on Computed Tomography of Oropharyngeal Carcinoma Patients

    Highlight งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกชุมและสัณฐานวิทยาของโครงสร้างแปรผันกายวิภาค 6 โครงสร้าง จากภาพ CT สาธารณะในชุดข้อมูล OPC-Radiomics ซึ่งประกอบด้วยภาพ CT ของศีรษะ คอและทรวงอกด้านบนจากผู้ป่วยโรคมะเร็งคอหอยส่วนปาก 606 ราย ที่มาและความสำคัญ มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 6 ของโลก โดยร้อยละ 6 ถึง 20 ของผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งชนิดนี้มีการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งไปยังอวัยวะอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งศีรษะและคอ ดังนั้นการตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT) ที่บริเวณศีรษะและคอ จึงเป็นมาตรฐานสากลสำหรับผู้ป่วยที่สงสัยว่าเป็นมะเร็งช่องปากเพื่อตรวจพบการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งตั้งแต่แรกเริ่ม โครงสร้างแปรผันทางกายวิภาค […]

     
  •  
  • A reverse form of Linburg–Comstock variation with comments on its etiology and demonstration of interactive 3D portable document format

    Highlight งานวิจัยฉบับนี้สแกนร่างอาจารย์ใหญ่ด้วยเครื่องแสกนแบบสามมิติและนำเสนอผลงานในรูปแบบ 3D-PDF การนำเสนอผลงานในรูปแบบนี้เป็นมิติใหม่ของการนำเสนอผลงานวิจัยและอาจเป็นมาตรฐานใหม่ในงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ในอนาคต ที่มาและความสำคัญ โครงสร้างแปรผัน Linburg-Comstock คือเส้นเอ็น เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน หรือกล้ามเนื้อที่เกาะจากเส้นเอ็น flexor pollicis longus (FPL) ไปยัง flexor digitorum profundus (FDP) ของนิ้วชี้ ซึ่งพบได้ในร้อยละ 21 ของประชากรทั่วไป ซึ่ง distal interphalangeal joint ของนิ้วชี้บุคคลที่มีโครงสร้างนี้จะงอไปพร้อม ๆ กันเมื่อเกิดการหดตัวของกล้ามเนื้อ […]

     
  •  
  • The prevalence of anconeus epitrochlearis muscle and Osborne's ligament in cubital tunnel syndrome patients and healthy individuals: An anatomical study with meta-analysis

    The prevalence of anconeus epitrochlearis muscle and Osborne’s ligament in cubital tunnel syndrome patients and healthy individuals: An anatomical study with meta-analysis

    การปรากฎของกล้ามเนื้อ anconeuos epitrochlearis และเอ็นยึดกระดูก Osborne และความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรค cubital tunnel syndrome Highlight: การศึกษาทางกายวิภาคศาสตร์และ meta-analysis ชี้ให้เห็นว่าการมีอยู่ของกล้ามเนื้อ anconeuos epitrochlearis สัมพันธ์กับการป้องกันการเกิดโรค cubital tunnel syndrome ขณะที่ยังไม่สามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ของโรคดังกล่าวกับการปรากฏของเอ็นยึดกระดูก Osborne ซึ่งคงต้องอาศัยข้อมูลการศึกษาเพิ่มเติมต่อไป ที่มาและความสำคัญ กล้ามเนื้อ anconeuos epitrochlearis และเอ็นยึดกระดูก Osborne เป็นความผันแปรทางกายวิภาคศาสตร์ที่พบได้ที่บริเวณร่องกระดูกด้านหลังข้อศอก ซึ่งในบางคน […]

     
  •