Post Tagged with: "Cytotoxicity"
-
Evaluation of Toxicity and Anti-Oxidation Activity of the Extracts from Halymenia durvillei
การวิเคราะห์ความเป็นพิษและคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดลิ้นมังกร Highlight: สารสกัดสาหร่ายลิ้นมังกรที่สกัดจาก ethanol, butanol และ aqueous มีความเป็นพิษต่อเซลล์ต่ำ ขณะที่สารสกัดที่สกัดด้วย ethyl acetate และ hexane มีความเป็นพิษต่อเซลล์ได้เมื่อใช้ที่ความเข้มข้นสูง อย่างไรก็ตามสารสกัดที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้สูงเป็นสารสกัดที่สกัดจาก ethanol, hexane, ethyl acetate และ butanol จึงสรุปได้ว่าสารสกัดที่สกัดด้วย ethanol, butanol และ aqueous มีความปลอดภัยในการนำมาใช้ประโยชน์ ขณะที่สารที่สกัดโดยใช้ ethyl acetate […]
-
Exerting DNA Damaging Effects of the Ilimaquinones through the Active Hydroquinone Species
Highlight: สาร ilimaquinone มีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากโดยทำให้ DNA ของเซลล์มะเร็งเสียหาย ผ่านกระบวนการ in-situ transformation ไปเป็นสาร active hydroquinones Abstract Possessing the quinone moiety, ilimaquinone (1), a sponge–derived sesquiterpene quinone, has been hypothesised to express its cytotoxicity […]
-
Toxicity and Anti-Oxidation Capacity of The Extracts from Caulerpa lentillifera
การทดสอบความเป็นพิษและประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่น Highlight: สารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่นด้วยเอทานอล (CLET) มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระได้ดีและมีความเป็นพิษต่ำ ขณะที่สารสกัดด้วยเฮกเซนและเอทิลอะซิเตท (CLHE และ CLEA) ควรใช้ในความเข้มข้นที่เหมาะสมที่ไม่เกิน 500 และ 200 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ เพื่อให้ได้ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระและไม่เป็นพิษต่อเซลล์ ที่มาและความสำคัญสาหร่ายพวงองุ่นได้มีการใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางทั้งทางด้านอุตสาหกรรมยาและผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ ในการศึกษาวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเป็นพิษและศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดสาหร่ายพวงองุ่นใน 5 กลุ่มตัวอย่าง ซึ่งแบ่งตามลักษณะการสกัดด้วยตัวทำละลายที่ต่างกัน ได้แก่ เอทานอล (CLET) เฮกเซน (CLHE) เอทิลอะซิเตท (CLEA) บิวทานอล (CLBU) […]