Post Tagged with: "meta-analysis"

 
  • Anatomical study and meta-analysis of the episternal ossicles

    Highlight การศึกษานี้ประกอบด้วยการศึกษาจากภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (computed tomography) และการวิเคราะห์อภิมานจากฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิก 3 แหล่งได้แก่ Google Scholar, PubMed, and Journal Storage ผลงานวิจัยพบว่า จากคนไข้จำนวน 7,997 รายจากผลงานตีพิมพ์กว่า 16 ฉบับ episternal ossicles มีความชุกอยู่ที่ 2.1% โดยการศึกษาด้วย X-ray มีความชุกสูงสุดอยู่ที่ 7% และประชากรเอเชียมีความชุกของ episternal ossicles […]

     
  •  
  • Radiological Study of Atlas Arch Defects with Meta-Analysis and a Proposed New Classification

    Highlight ความผิดปกติของกระดูกสันหลังคอชิ้นบนสุดหรือ atlas ที่เรียกว่า atlas arch defect เป็นความผิดปกติที่พบได้ไม่มากนัก ความผิดปกตินี้เกิดขึ้นเมื่อมีร่องบริเวณ anterior arch หรือ posterior arch ของกระดูก atlas หากเกิดขึ้นทั้งสองบริเวณจะเรียกว่า combined arch defect ในการศึกษานี้ผู้วิจัยได้ศึกษาความชุกของ arch defect ในประชากร 606 ราย ทำการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระแบบ วิเคราะห์อภิมานเพื่อศึกษาความชุกของ arch defect […]

     
  •  
  • Topographical study of scapular foramina and scapular nutrient foramina in dried skeletons

    Highlight งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาความชุกและสัณฐานของรูเปิดบนกระดูกสะบักหรือ scapular foramina และใช้การสแกนสามมิติและเทคโนโลยี AR ซึ่งเป็นมิติใหม่ของการนำเสนอผลงานวิจัยทางกายวิภาคและอาจเป็นมาตรฐานใหม่ในอนาคต ที่มาและความสำคัญ การมีอยู่ของรู scapular foramina อาจสับสนกับการหักของกระดูกสะบักเมื่อวินิจฉัยจากภาพรังสี การรับรู้ถึงตำแหน่งของ scapular nutrient foramina มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งเพื่อป้องกันความเสียหายต่อหลอดเลือด nutrient vessels เมื่อทำหัตการบริเวณกระดูกสะบัก งานวิจัยฉบับนี้ศึกษาความชุกและสัณฐานของรูเปิดและรูสารอาหารของกระดูกสะบัก โดยใช้กระดูกสะบักจำนวนทั้งสิ้น 150 ชิ้น การศึกษาก่อนหน้าพบว่ารูเปิดบนกระดูกสะบัก หรือ scapular foramina เป็นรูเปิดที่เชื่อมพื้นผิวแต่ละด้านของกระดูกสะบัก ซึ่งเป็นโครงสร้างแปรผันทางกายวิภาค […]

     
  •  
  • The prevalence of Stafne bone cavity: A meta-analysis of 355,890 individuals

    Highlight งานวิจัยนี้ใช้การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมาน เพื่อศึกษาความชุกของโพรงกระดูก Stafne เพื่อนำมาวิเคราะห์อภิมาน จากจำนวนตัวอย่างรวม 355,890 ราย สรุปได้ว่าความชุกของโพรงกระดูก Stafne อยู่ที่ร้อยละ 0.17 และมีความชุกในเพศชายมากกว่าเพศหญิงถึงห้าเท่าและพบได้ในประชากรโบราณมากกว่าประชากรปัจจุบันถึงสามเท่า ที่มาและความสำคัญ โพรงกระดูก Stafne เป็นความบกพร่องที่ไม่แสดงอาการในพื้นผิวด้านในของกระดูกขากรรไกรล่าง ซึ่งได้รับการตั้งชื่อตาม Edward C. Stafne ในปี 1942 โครงสร้างนี้นับเป็นความแปรผันทางกายวิภาค (anatomical variation) เนื่องจากมักไม่แสดงอาการ ความรู้และความตระหนักของโพรงกระดูก Stafne มีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งสำหรับทันตแพทย์ […]

     
  •  
  • Cross-Sectional Area of the Tibial Nerve in Diabetic Peripheral Neuropathy Patients: A Systematic Review and Meta-Analysis of Ultrasonography Studies

     
  • The prevalence of anconeus epitrochlearis muscle and Osborne’s ligament in cubital tunnel syndrome patients and healthy individuals: An anatomical study with meta-analysis

     
  • The decreasing prevalence of the thyroid ima artery: A systematic review and machine learning assisted meta-analysis