SDGs 12. RESPONSIBLE CONSUMPTION AND PRODUCTION

 
  • Functional characterization of the recombinant L-type lectin from red alga Gracilaria fisheri with antibacterial potential

    Highlight เลคตินชนิด L ที่ผลิตแบบรีคอมบิแนนต์จากสาหร่ายแดง Gracilaria fisheri แสดงฤทธิ์ในการรวมตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดงและต้านเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดที่ก่อโรคในสัตว์น้ำ เช่นแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio, Streptococcus และ Aeromonas ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของเลคตินในการพัฒนาเป็นสารต้านเชื้อจากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ที่มาและความสำคัญ เลคติน (Lectins) เป็นโปรตีนที่สามารถจับกับหมู่คาร์โบไฮเดรตบนผิวเซลล์ของจุลชีพได้อย่างจำเพาะ และมีบทบาทสำคัญในระบบภูมิคุ้มกันโดยธรรมชาติ เช่น การกระตุ้นการรวมตัวของเชื้อ การจับและกำจัดเชื้อโรคผ่านกลไกของภูมิคุ้มกัน ตลอดจนการยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพหลายชนิด เลคตินที่พบในสาหร่ายทะเล โดยเฉพาะสาหร่ายแดง มีความหลากหลายทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ และมีรายงานถึงฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจหลายประการ อย่างไรก็ตาม เลคตินจาก Gracilaria […]

     
  •  
  • Physical and chemical properties and anti-apoptotic effects on C2C12 cells of hydrolyzed tuna (Katsuwonus pelamis) blood powder

    Highlight This study developed hydrolyzed tuna blood powder (HTBP) from canned tuna industry by-products and demonstrated its antioxidant and anti-apoptotic effects on C2C12 muscle cells under oxidative stress. HTBPs, particularly […]

     
  •  
  • Nutritional value of the amphipod Bemlos quadrimanus sp. grown in shrimp biofloc ponds as influenced by different carbon sources

    Nutritional value of the amphipod Bemlos quadrimanus sp. grown in shrimp biofloc ponds as influenced by different carbon sources

    ที่มาและความสำคัญ แอมฟิพอด (amphipod) ในตะกอนชีวภาพ (bioflocs) เป็นอาหารทางธรรมชาติที่มีสารอาหารสูงเหมาะสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสปีชีส์ของแอมฟิพอดในบ่อเลี้ยงกุ้งที่ใช้ระบบตะกอนชีวภาพ (biofloc technology) ที่ฟาร์มกุ้ง อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี และศึกษาคุณค่าทางโภชนาการและการเพิ่มจำนวนของแอมฟิพอดในบ่อระบบตะกอนชีวภาพ โดยนำพ่อแม่พันธุ์ของแอมฟิพอดมาทำการทดลองเลี้ยงด้วยแหล่งคาร์บอน (carbon sources) ที่ต่างชนิดกัน คือกากน้ำตาล (molasses) รำข้าว(rice bran) และแป้งข้าวโพด (corn flour) ที่ระดับอัตราของคาร์บอนต่อไนโตรเจน (C:N) ratio เท่ากับ 16:1 เป็นเวลา […]

     
  •  
  • Bioflocs substituted fishmeal feed stimulates immune response and protects shrimp from Vibrio parahaemolyticus infection

    Bioflocs substituted fishmeal feed stimulates immune response and protects shrimp from Vibrio parahaemolyticus infection

    ที่มาและความสำคัญ ปลาป่น (fish meal) เป็นแหล่งโปรตีนที่สำคัญในอุตสาหกรรมผลิตอาหารกุ้ง ปลาป่นได้มาการลากอวนปลาเล็กปลาน้อยจากทะเลซึ่งเป็นการทำลายระบบนิเวศอย่างมาก ดังนั้นการหาแหล่งโปรตีนคุณภาพดีเพื่อทดแทนปลาป่นจึงมีความจำเป็นอย่างเร่งด่วน งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณค่าทางโภชนาการในตะกอนชีวภาพ (bioflocs) การใช้ตะกอนชีวภาพทดแทนปลาป่นในอาหารกุ้ง และผลของตะกอนชีวภาพต่อการเจริญเติบโตและภูมิคุ้มกันของกุ้ง ตะกอนชีวภาพได้จากการเก็บเกี่ยวจากบ่อเลี้ยงกุ้ง (C:N ratio > 12:1) ที่ Shrimp Village อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการทดลองพบว่าโปรตีนและลิปิดในตะกอนชีวภาพมีค่าเท่ากับ 48% และ 5% ตามลำดับ ปริมาณกรดอะมิโนและกรดไขมันที่จำเป็นในตะกอนชีวภาพมีค่าใกล้เคียงกับปลาป่น เมื่อให้กุ้งกินอาหารที่ใช้ตะกอนชีวภาพแทนปลาป่นในปริมาณแตกต่างกัน (25, 50, […]

     
  •