Post Tagged with: "Gracilaria fisheri"

 
  • Sulfated galactan derivatives from Gracilaria fisheri suppress the proliferation of MCF‑7 breast cancer cells by inducing cell cycle arrest

    Highlight ซัลเฟตกาแลคแตนจากสาหร่าย Gracilaria fisheri และอนุพันธ์ที่ผ่านการปรับโครงสร้าง (LSG และ LSGO) แสดงฤทธิ์ยับยั้งการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็งเต้านม MCF-7 โดย LSGO มีประสิทธิภาพสูงสุดผ่านการชะลอวัฏจักรเซลล์ในระยะ G2/M และลดการแสดงออกของโปรตีนควบคุมการแบ่งเซลล์ เช่น Ki-67, Cyclins และ CDKs ผลลัพธ์ชี้ถึงศักยภาพของ LSGO ในการพัฒนาเป็นสารต้านมะเร็งจากธรรมชาติ ที่มาและความสำคัญ มะเร็งเต้านมเป็นหนึ่งในมะเร็งที่พบมากที่สุดในสตรีทั่วโลก และยังคงเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญ แม้ว่าจะมีแนวทางการรักษาหลายรูปแบบ แต่การดื้อยาและผลข้างเคียงจากเคมีบำบัดยังเป็นข้อจำกัดสำคัญ งานวิจัยก่อนหน้านี้ชี้ให้เห็นว่าซัลเฟตกาแลคแตน (SG) […]

     
  •  
  • Functional characterization of the recombinant L-type lectin from red alga Gracilaria fisheri with antibacterial potential

    Highlight เลคตินชนิด L ที่ผลิตแบบรีคอมบิแนนต์จากสาหร่ายแดง Gracilaria fisheri แสดงฤทธิ์ในการรวมตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดงและต้านเชื้อแบคทีเรียหลายชนิดที่ก่อโรคในสัตว์น้ำ เช่นแบคทีเรียกลุ่ม Vibrio, Streptococcus และ Aeromonas ผลการวิจัยชี้ให้เห็นถึงศักยภาพของเลคตินในการพัฒนาเป็นสารต้านเชื้อจากธรรมชาติ เพื่อลดการใช้ยาปฏิชีวนะในอุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ที่มาและความสำคัญ เลคติน (Lectins) เป็นโปรตีนที่สามารถจับกับหมู่คาร์โบไฮเดรตบนผิวเซลล์ของจุลชีพได้อย่างจำเพาะ และมีบทบาทสำคัญในระบบภูมิคุ้มกันโดยธรรมชาติ เช่น การกระตุ้นการรวมตัวของเชื้อ การจับและกำจัดเชื้อโรคผ่านกลไกของภูมิคุ้มกัน ตลอดจนการยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลชีพหลายชนิด เลคตินที่พบในสาหร่ายทะเล โดยเฉพาะสาหร่ายแดง มีความหลากหลายทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่ และมีรายงานถึงฤทธิ์ทางชีวภาพที่น่าสนใจหลายประการ อย่างไรก็ตาม เลคตินจาก Gracilaria […]

     
  •  
  • Depolymerized Fractions of Sulfated Galactans Extracted from Gracilaria fisheri and Their Antibacterial Activity against Vibrio parahaemolyticus and Vibrio harveyi

    Highlight การปรับโครงสร้างสารสกัดซัลเฟต กาแลคแตนจากสาหร่ายผมนางมีผลเพิ่มฤทธิ์ต้านแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งชนิดVibrio parahaemolyticus และ Vibrio harveyi ที่มาและความสำคัญ อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุ้งได้รับผลกระทบผลผลิตต่ำจากการติดเชื้อแบคทีเรียก่อโรคVibrio parahaemolyticus และ Vibrio harveyi  งานวิจัยก่อนหน้าพบสารซัลเฟตโพลิแซคคาไรด์ธรรมชาติที่สกัดจากสาหร่ายผมนางมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียทั้ง 2 ชนิดนี้ได้ ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารกลุ่มโพลิแซคคาไรด์มีความสัมพันธ์กับน้ำหนักโมเลกุลและโครงสร้างทางเคมี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับโครงสร้างสารซัลเฟตกาแลคแตนสกัดธรรมชาติจากสาหร่ายผมนางโดยการย่อยให้มีขนาดเล็กลง ศึกษาโครงสร้างและทดสอบการเพิ่มศักยภาพในการยับยั้งการเจริญและฆ่าแบคทีเรียของสารที่ได้จากการปรับโครงสร้างเปรียบเทียบกับสารสกัดธรรมชาติ เพื่อการใช้ประโยชน์สูงสุดจากการใช้สารสกัดจากสาหร่ายผมนางผสมเป็นสูตรอาหารกุ้งต่อไป Abstract Various seaweed sulfated polysaccharides have been explored for antimicrobial […]

     
  •