Research output
-
The Anatomical Relationship Between the Cervical Nerve Roots, Intervertebral Discs and Bony Cervical Landmark for Posterior Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy: A Cadaveric Study
ชื่องานวิจัยภาษาไทย มหกายวิภาคศาสตร์ระหว่างรากประสาทระดับคอ หมอนรองกระดูกและกระดูกสันหลังระดับคอสำหรับการผ่าตัดด้วยวิธี Endoscopic Cervical Foraminotomy and Discectomy ในอาจารย์ใหญ่นุ่มเสมือนจริง Highlight การศึกษาระยะตัดกระดูกสันหลังที่ปลอดภัยสำหรับรักษาโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทในอาจารย์ใหญ่แบบนิ่มเสมือนจริง ที่มาและความสำคัญ ศัลยแพทย์ปัจจุบันนิยมผ่าตัดรักษาผู้ป่วยโรคหมอนรองกระดูกคอกดทับเส้นประสาทด้วยวิธี posterior endoscopic cervical foraminotomy หรือ discectomy (PECF หรือ PECD) มากขึ้น ทว่าองค์ความรู้เกี่ยวกับจุดสังเกตทางกายวิภาคเพื่อความปลอดภัยในการผ่าตัดนำกระดูกบางส่วนออกเพื่อลดการกดทับเส้นประสาทยังมีอยู่อย่างจำกัด Abstract This study investigates the relationships […]
-
A novel ssDNA Bidnavirus in the giant freshwater prawn Macrobrachium rosenbergii
Highlight We have discovered Macrobrachium hepatopancreatic bidnavirus (MHBV) as the cause of eosinophilic to magenta, intranuclear inclusions in the hepatopancreas of Mr that are sometimes associated with mortality and sometimes […]
-
CP-673451, a Selective Platelet-Derived Growth Factor Receptor Tyrosine Kinase Inhibitor, Induces Apoptosis in Opisthorchis viverrini-Associated Cholangiocarcinoma via Nrf2 Suppression and Enhanced ROS
ชื่องานวิจัยภาษาไทย CP-673451 ตัวยับยั้งไทโรซีนไคเนสของตัวรับเพลทเลทดีไลฟ์ โกรทแฟคเตอร์ ชักนำให้เกิดการตายของเซลล์แบบอะพอพโทซิสในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีที่สัมพันธ์กับพยาธิใบไม้ตับโดยยับยั้ง Nrf2 และเพิ่ม ROS Highlight ยีน PDGF และ PDGFR มีการแสดงออกในเนื้อเยื่อ CCA มากกว่าเนื้อเยื่อปกติโดยรอบ PDGFR-α มีการแสดงออกในระดับสูงในเซลล์มะเร็งท่อน้ำดี (CCA) ในขณะที่ PDGFR-β ส่วนใหญ่พบใน CAF สารยับยั้งที่จำเพาะต่อ PDGFR คือ CP-673451 ยับยั้งเส้นทาง PI3K/Akt/Nrf2 ในเซลล์ […]
-
Anti-Obesity Effects of Marine Macroalgae Extract, Caulerpa lentillifera, in a Caenorhabditis elegans Model
ชื่องานวิจัยภาษาไทย การออกฤทธิ์ต้านโรคอ้วนของสารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่นในสัตว์ทดลองต้นแบบ Caenorhabditis elegans Highlight สารสกัดสาหร่ายพวงองุ่นมีศักยภาพในการลดปริมาณไขมัน ระดับไตรกลีเซอไรด์ และก้อนไขมันสะสมในสัตว์ทดลองได้ รวมถึงยังสามารถลดความเครียดจากภาวะออกซิเดชั่น โดยมีกลไกการออกฤทธิ์ผ่านทางยีนที่เกี่ยวข้องกับการผลิตไขมัน (sbp-1) ดังนั้นการวิจัยนี้บ่งชี้ว่าสารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่นสามารถลดไขมันและต้านโรคอ้วนในสิ่งมีชีวิตต้นแบบได้ ที่มาและความสำคัญ โรคอ้วนเป็นภาวะที่มีการสะสมไขมันมากเกินจำเป็น และนำไปสู่ปัญหาสุขภาพด้านอื่น ๆ โดยสารสกัดจากธรรมชาติรวมถึงจากสาหร่ายทะเลมีฤทธิ์หลากหลาย จึงนำมาสู่งานวิจัยครั้งนี้เพื่อศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดจากสาหร่ายพวงองุ่นในการลดไขมัน และต้านโรคอ้วน โดยศึกษาในสัตว์ทดลองต้นแบบ Caenorhabditis elegans Abstract Obesity is a multifactorial disease characterized by […]
-
-
-
-
-
-