Research output
-
Ethyl Acetate Extract of Halymenia durvillei Induced Apoptosis, Autophagy, and Cell Cycle Arrest in Colorectal Cancer Cells
ฤทธิ์ของสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรในการต้านเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยการกระตุ้นการตายของเซลล์แบบ apoptosis และ autophagy Highlight การศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกร Halymenia durvillei (HD) ในการต้านมะเร็งลำไส้ใหญ่ พบว่าสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรในชั้น ethyl acetate สามารถฆ่าเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ (HT-29) ยับยั้งการแบ่งเซลล์กระตุ้นกระบวนการตายของเซลล์แบบ apoptosis และ autophagy รวมถึงการยับยั้งการแสดงออกของยีนในกลไก PI3K, AKT และ mTOR ได้ จึงสามารถสรุปได้ว่าสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรในชั้น ethyl acetate สามารถต้านมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยผ่านทางกลไก […]
-
Ethanolic extract of Halymenia durvillei induced G2/M arrest and altered the levels of cell cycle regulatory proteins of MDA-MB-231 triple-negative breast cancer cells
ฤทธิ์ของสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรในการต้านเซลล์มะเร็งเต้านม MDA-MB-231 โดยการยับยั้งการแบ่งเซลล์และเปลี่ยนแปลงระดับของโปรตีนที่ใช้ในการแบ่งเซลล์ Highlight สาหร่ายลิ้นมังกร Halymenia durvillei (HD) มีฤทธิ์ในการต้านไวรัส ต้านแบคทีเรีย ต้าอนุมูลอิสระ และต้านมะเร็ง โดยมีการศึกษาทั้งในเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะอาหาร และมะเร็งต่อมลูกหมาก ในการศึกษาวิจัยนี้จึงได้ทำการศึกษาการออกฤทธิ์ในการต้านเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด triple-negative (MDA-MB-231) ผลการศึกษาวิจัยพบว่าสารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรสามารถฆ่าเซลล์มะเร็งและยับยั้งการแบ่งเซลล์ได้ โดยการลดระดับของยีนที่ควบคุมการแบ่งเซลล์ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มระดับอนุมูลอิสระภายในเซลล์ ขณะที่การตายของเซลล์แบบ apoptosis และการเปลี่ยนแปลงระดับของเอ็นไซม์ caspase ยังไม่มีผลมากนัก ที่มาและความสำคัญ สาหร่ายลิ้นมังกร Halymenia […]
-
Holothurin A Inhibits RUNX1-Enhanced EMT in Metastasis Prostate Cancer via the Akt/JNK and P38 MAPK Signaling Pathway
Highlight สาร HA จากปลิงทะเลขาวสามารถยับยั้งการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากโดยผ่านกระบวนการ EMT ที่เกี่ยวข้องกับโปรตีน RUNX1 ผ่านวิถีสัญญาณ Akt/P38/JNK-MAPK ที่มาและความสำคัญ ปัจจุบันมีความพยายามในการรักษาโรคมะเร็งต่อมลูกหมากโดยเฉพาะในช่วงที่มะเร็งที่อยู่ในระยะแพร่กระจายที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปร่างจากเซลล์ epithelial ไปเป็นเซลล์ mesenchymal หรือเรียกว่า epithelial–mesenchymal transition (EMT) ซึ่งเป็นระยะที่การรักษาจะทำได้ยาก สาร holothurin A (HA) เป็นสารประเภท triterpenoid saponin ที่สกัดได้จากปลิงทะเลขาว Holothuria scabra ซึ่งมีฤทธิ์ทางชีวภาพหลากหลาย […]
-
Twenty Intracranial Skull Base Variations in the Same Specimen
Highlight การมีโครงสร้างแปรผันถึงมากถึง 20 โครงสร้างในกะโหลกชิ้นเดียวเป็นสิ่งที่น่าสังเกตและยังไม่เคยมีการอธิบายไว้ก่อนหน้านี้ ตัวอย่างกะโหลกที่พบนี้มีคุณค่าทางกายวิภาคศาสตร์และการแพทย์เป็นอย่างยิ่ง ที่มาและความสำคัญ นักกายวิภาคศาสตร์และแพทย์มักพบโครงสร้างแปรผันทางกายวิภาคเมื่อศึกษารูและรอยแยกต่าง ๆ กะโหลก อย่างไรก็ตาม การมีโครงสร้างแปรผันถึงมากถึง 20 โครงสร้างในกะโหลกชิ้นเดียวเป็นสิ่งที่น่าสังเกตและยังไม่เคยมีการอธิบายไว้ก่อนหน้านี้ ในรายงานฉบับนี้ เราพบโครงสร้างแปรผันจำนวน 20 โครงสร้างในกะโหลกศีรษะของผู้บริจาคร่างกาย ประกอบด้วย clival canals, an interclinoid bar with resultant foramen at the uppermost aspect […]
-
-
-
-
-
-