SDGs
-
Molecular Insights into Zn2+ Inhibition of the Antibacterial Endopeptidase Lysostaphin from Staphylococcus simulans
ที่มาและความสำคัญ สารไลโซสตาฟิน(~28-kDa Lss) จาก Staphylococcus simulans พิสูจน์แล้วว่ามีประสิทธิภาพสูงเป็นยาต้านเชื้อ Staphylococcus aureus (MRSA) ที่ดื้อต่อ methicillin ซึ่งเป็นโรคเฉพาะถิ่นในโรงพยาบาลทั่วโลก Lss เป็นเอนโดเปปติเดสที่ขึ้นกับ Zn2+ แต่การสลายแบคทีเรียของมันอาจได้รับผลกระทบจากการเติม Zn2+ภายนอก เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมากขึ้นเกี่ยวกับผลกระทบเชิงโครงสร้างและหน้าที่ของ Zn2+และ Ni2+on Lss ที่เกิดจากฤทธิ์ทางชีวภาพ วิธีการ: Lss ถูกทำให้บริสุทธิ์ด้วยโครมาโตกราฟีที่มีไอออนของโลหะที่ถูกตรึงที่ถูกตรึงถูกประเมินสำหรับการออกฤทธิ์ทางชีวภาพโดยใช้การสอบวิเคราะห์การลดความขุ่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของ Lss ที่บำบัดด้วยไอออนของโลหะถูกตรวจสอบโดยการแบ่งแยกแบบวงกลมและสเปกโทรสโกปีเรืองแสงภายใน ทำการทดสอบการตกตะกอนร่วมเพื่อศึกษาปฏิสัมพันธ์ระหว่าง […]
-
Effect of combined contraceptive pill on immune cell of ovarian endometriotic tissue
Highlight: ยาเม็ดคุมกำเนิดแบบผสม (COCs) สามารถลดการแทรกซึมของเซลล์ macrophage ในเยื่อบุโพรงมดลูก รวมทั้งช่วยควบคุมภาวะสมดุลของเซลล์ระบบภูมิคุ้มกันโดยการเพิ่มจำนวน natural killer cells และ regulatory T cells ในบริเวณเยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิดที่ด้วย ที่มาและความสำคัญ ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันสามารถทำให้มีการเกิดและพัฒนาของเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ได้ ในกรณีที่มีการไหลย้อนของประจำเดือนบางส่วนเข้าไปในท่อนำไข่ เมื่อระบบภูมิคุ้มกันไม่สามารถกำจัดเลือดและเนื้อเยื่อที่อยู่ในประจำเดือนเหล่านี้ได้หมด จะทำให้เยื่อบุโพรงมดลูกที่เหลืออยู่ยึดเกาะกับผนังในอุ้งเชิงกรานและเจริญต่อไปได้ ซึ่งเยื่อบุโพรงมดลูกที่เจริญผิดที่นี้จะไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันทำให้เกิดการกระตุ้นการตอบสนองการอักเสบที่นำไปสู่การหลั่งไซโตไคน์ต่างๆ ในเนื้อเยื่อ และในเลือด รวมทั้งการแทรกซึมของเซลล์เม็ดเลือดขาว เช่น macrophage และ natural killer cells […]
-
Neurorescue Effects of Frondoside A and Ginsenoside Rg3 in C. elegans Model of Parkinson’s Disease
ฤทธิ์ของ Frondoside A และ Ginsenoside Rg3 ในการฟื้นฟูเซลล์ประสาทจากโรคพาร์กินสันในสัตว์ทดลองต้นแบบ Caenorhabditis elegans Highlight: สาร frondoside A จากปลิงทะเล และ ginsenoside Rg3 จากโสม สามารถลดการฟื้นฟูเซลล์ประสาทจากการถูกทำลาย และลดการเกาะกลุ่มของโปรตีนแอลฟ่าซิลนิวคลิอิน ซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรคพาร์กินสัน โดยสารสกัดทั้งสองออกฤทธิ์ในการยับยั้งกระบวนการ apoptosis การกระตุ้นเอ็นไซม์ต้านอนุมูลอิสระ และกระตุ้นกระบวนการย่อยสลายโปรตีนที่ผิดปกติภายในเซลล์ ที่มาและความสำคัญ โรคพาร์กินสันเกิดจากการสูญเสียเซลล์ประสาทสร้างโดปามีนและการสะสมของโปรตีนแอลฟ่าซิลนิวคลิอินในเซลล์ โดยในปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคพาร์กินสันอย่างมีประสิทธิภาพ และการรักษาที่มีอยู่เป็นเพียงการประคับประคองและรักษาตามอาการที่เกิดขึ้นเท่านั้น ซึ่งมีผลการศึกษาที่ผ่านมาพบว่าสารสกัดซาโปนินมีผลในการป้องกันเซลล์ประสาทในโรคความเสื่อมของระบบประสาทได้ […]
-
Dual VP28 and VP37 dsRNA encapsulation in IHHNV virus-like particles enhances shrimp protection against white spot syndrome virus
Highlight: ปัจจุบัน ได้มีหลักฐานของการใช้บรรจุภัณฑ์นาโนที่บรรจุสารพันธุกรรมออกฤทธิ์ (dsRNA) เพื่อลดการติดเชื้อไวรัสในกุ้งที่สามารถหวังผลสัมฤทธิ์ได้สูง ในการศึกษาครั้งนี้ เราจึงทดสอบการใช้บรรจุภัณฑ์นาโนเพื่อบรรจุสารพันธุกรรมออกฤทธิ์ 2 ชนิดพร้อมกัน (Co-encapsulation) คือ สารพันธุกรรมออกฤทธิ์ต่อโปรตีน VP28 และ VP37 ของไวรัสก่อโรคตัวแดงดวงขาวในกุ้ง (WSSV) จำนวนอย่างละ 5 ไมโครกรัม เพื่อทดสอบความสามารถในการลดปริมาณเชื้อไวรัสในกุ้ง ผลการทดลองพบว่า สารพันธุกรรมออกฤทธิ์ต่อโปรตีน VP37 สามารถบรรจุเข้าไปในช่องว่างของบรรจุภัณฑ์นาโนได้มากกว่าสารพันธุกรรมออกฤทธิ์ต่อโปรตีน VP28 และให้ผลในการป้องกันเชื้อไวรัส WSSV ได้ดีกว่าการบรรจุสารพันธุกรรมออกฤทธิ์เพียงชนิดเดียว โดยทดสอบจากปริมาณของยีนและจำนวนตัวไวรัส […]
-
-
-
-
-
-