SDGs 14. LIFE BELOW WATER
-
Morphological and histochemical characteristics of the foregut, midgut, and hindgut, and their alterations during ovarian development in female freshwater prawn, Macrobrachium rosenbergii
การศึกษาลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค สัณฐานวิทยา และเนื้อเยื่อวิทยาของระบบทางเดินอาหาร ในช่วงการพัฒนาของรังไข่ของกุ้งก้ามกรามเพศเมีย Highlight: ในการศึกษาครั้งนี้ คณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาลักษณะและการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค สัณฐานวิทยา และเนื้อเยื่อวิทยา ของระบบทางเดินอาหารส่วน foregut (FG), midgut (MG), and hindgut (HG) ของกุ้งก้ามกรามเพศเมีย Macrobrachium rosenbergii ในช่วงการพัฒนาของรังไข่ ในส่วนของ FG ประกอบไปด้วย หลอดอาหาร (esophagus, ESO), cardia (CD), `และ […]
-
Interior modification of Macrobrachium rosenbergii nodavirus-like particle enhances encapsulation of VP37-dsRNA against shrimp white spot syndrome infection
Highlight MrN-VLP รุ่นดั้งเดิม (V0-) ได้รับการปรับโครงสร้างภายในด้วยเปปไทด์ RBD (V1-) และ 10R (V2-) ซึ่งช่วยเพิ่มความสามารถในการบรรจุ VP37-dsRNA ผลการป้องกันการติดเชื้อ WSSV จากการให้กุ้งอาหารที่บรรจุ dsRNA พร้อมกับ V1-/V2-MrN-VLP ได้รับการพิสูจน์ทางการทดลองว่ามีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวอย่างชัดเจน ชื่องานวิจัย ภาษาไทย การปรับโครงสร้างภายในของอนุภาคลักษณะคล้ายไวรัส Macrobrachium rosenbergii ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการบรรจุ VP37-dsRNA เพื่อป้องกันการติดเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาวในกุ้ง ที่มาและความสำคัญ การปรับแต่งอนุภาคไวรัสเสมือน MrNV-VLPให้สามารถบรรจุกรดไรโบนิวคลีอิกสายคู่ […]
-
Binding of Infectious Hypodermal and Haematopoietic Necrosis Virus-Like Particles to Mannose Receptor Stimulates Antimicrobial Responses in Immune-Related Tissues of Peneaus vannamei
Highlight บทบาทของ mannose receptor ในการจับกับอนุภาคไวรัสลักษณะคล้าย IHHNV (Infectious hypodermal and haematopoietic necrosis virus-like particle, IHHN-VLP) เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันที่ถูกกระตุ้นในกุ้งขาว Peneaus vannamei โดยยีนที่เกี่ยวข้องกับเปปไทด์ต้านจุลชีพ (Antimicrobial peptides, AMPs) เช่น เพนนาอีดิน 3 (Penaeidin 3) และครัสติน (Crustin) เพิ่มการแสดงออกอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งน่าจะเป็นกลไกการป้องกันไวรัสในกุ้ง […]
-
Differential expression of neuropeptide F in the digestive organs of female freshwater prawn, Macrobrachium rosenbergii, during the ovarian cycle
การศึกษาการแสดงออกของ neuropeptide F ในระบบทางเดินอาหารของกุ้งก้ามกรามเพศเมียในช่วงการพัฒนาของรังไข่ Highlight: ในการศึกษาครั้งนี้ เราได้ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของระดับการแสดงออกและการกระจายของ M. rosenbergii neuropeptide F (MrNPF) ในอวัยวะทางเดินอาหารในช่วงการพัฒนาของรังไข่ของกุ้งก้ามกรามเพศเมีย M. rosenbergii คณะผู้วิจัยได้ทำการตรวจสอบพบว่า MrNPF มีการแสดงออกอย่างจำเพาะเจาะจงในแต่ละส่วนของทางเดินอาหาร และระดับของMrNPF มีการเปลี่ยนแปลงไปตามช่วงการพัฒนาของรังไข่ จากนั้นคณะผู้วิจัยได้ทำการศึกษาต่อไปถึงความเป็นไปได้ของ mode of action ของ MrNPF ในการควบคุมกิจกรรมของเซลล์ในระบบทางเดินอาหารและอาจจะเป็นไปได้ถึงการควบคุมการกินอาหาร จากการค้นพบครั้งนี้ ทำให้เราได้รับองค์ความรู้ใหม่ที่สำคัญเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ MrNPF […]
-
-
-
-
-
-