SDGs 2023
-
Antidiabetic potential of Lysiphyllum strychnifolium (Craib) A. Schmitz compounds in human intestinal epithelial Caco-2 cells and molecular docking-based approaches
Highlight ในงานวิจัยนี้ พบว่าสารลำดับที่ 1 สามารถยับยั้งการทำงานของ α-amylase เหมือนกับสาร acarbose โดยมีค่า IC50 ประมาณ 3.32 ± 0.30 μg/mL และ 2.86 ± 0.10 μg/mL ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบสารที่ 2 มีการยังยั้งได้ปานกลางและมีค่า IC50 = 10.15 ± 0.53 μg/mL […]
-
Holothuria scabra extracts confer neuroprotective effect in C. elegans model of Alzheimer’s disease by attenuating amyloid-β aggregation and toxicity
ชื่องานวิจัยภาษาไทย ฤทธิ์ของสารสกัดจากปลิงทะเลขาวในการป้องกันเซลล์ประสาทและต้านโรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ Highlight สารสกัดจากปลิงทะเลขาว สามารถลดการเกาะกลุ่มของโปรตีนอะไมลอยด์เบต้าซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ และสามารถฟื้นฟูเซลล์ประสาทและเซลล์กล้ามเนื้อที่ถูกทำลาย รวมถึงลดอนุมูลอิสระและเพิ่มอายุขัยเฉลี่ยของสัตว์ทดลองที่เป็นโรคอัลไซเมอร์ได้ ที่มาและความสำคัญ ปลิงทะเลขาวได้นำมาใช้เป็นอาหารและทางการแพทย์ของประเทศแถบเอเชียอย่างยาวนาน การศึกษาวิจัยนี้จึงศึกษาการออกฤทธิ์ของสารสกัดในการลดการเกาะกลุ่มของโปรตีนอะไมลอยด์เบต้าซึ่งเป็นสาเหตุหลักของโรคความจำเสื่อมอัลไซเมอร์ เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกันและรักษาโรคอัลไซเมอร์ต่อไป Abstract Background and aim Alzheimer’s disease (AD) is the most common aged-related neurodegenerative disorder that is associated with the […]
-
Neuroprotective effects of a medium chain fatty acid, decanoic acid, isolated from H. leucospilota against Parkinsonism in C. elegans PD model
ชื่องานวิจัยภาษาไทย ฤทธิ์ของสารสกัด decanoic acid จากปลิงทะเลดำในการป้องกันเซลล์ประสาทและต้านโรคพาร์กินสันในสัตว์ทดลอง C. elegans Highlight สารสกัด decanoic acid จากปลิงทะเลดำ สามารถลดความเสียหายของเซลล์ประสาท ลดอนุมูลอิสระ ฟื้นฟูการทำงานของเซลล์ประสาท อีกทั้งยังสามารถลดการเกาะกลุ่มของโปรตีนอัลฟ่าไซนิวคลิอิน โดยการกระตุ้นผ่านทาง DAF-16 transcription factor เพื่อกระตุ้นการแสดงออกของยีนต้านอนุมูลอิสระ (sod-3) และยีน heat shock proteins (hsp16.1, hsp16.2 และ hsp12.6) […]
-
Ethyl Acetate Extract of Marine Algae, Halymenia durvillei, Provides Photoprotection against UV-Exposure in L929 and HaCaT Cells
ชื่องานวิจัยภาษาไทย สารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรออกฤทธิ์ในการป้องกันเซลล์ผิวหนังและเซลล์สร้างเส้นใยจากรังสีอัลตร้าไวโอเลต Highlight สารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกร สามารถออกฤทธิ์ป้องกันเซลล์ผิวหนังและเซลล์สร้างเส้นใยจากการทำลายด้วยรังสีอัลตร้าไวโอเลต โดยการลดอนุมูลอิสระและการแสดงออกของเอ็นไซม์ MMP1 และ MMP3 รวมถึงการกระตุ้นยีน Nrf2 เข้าสู่นิวเคลียส เพื่อกระตุ้นการสร้างยีนที่ใช้ในการต้านอนุมูลอิสระ ได้แก่ SOD, HMOX, GSTP1 และกระตุ้นการสร้างเส้นใย collagen ของเซลล์ ที่มาและความสำคัญ สารสกัดจากสาหร่ายลิ้นมังกรมีสารสำคัญที่ออกฤทธิ์ต่างๆ มากมาย ได้แก่ ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านมะเร็ง เป็นต้น การศึกษาวิจัยนี้ได้ศึกษาฤทธิ์ในการป้องกันรังสีอัลตร้าไวโอเลตของเซลล์ต่างๆ ในชั้นผิวหนัง และกลไกการออกฤทธิ์ดังกล่าว […]
-
-
-
-
-
-