SDGs 2021
-
Dissecting the localization of Tilapia tilapinevirus in the brain of the experimentally infected Nile tilapia, Oreochromis niloticus (L.)
Highlight: งานวิจัยนี้บ่งชี้การติดเชื้อของ ทีลาปีนไวรัส ในสมองและไขสันหลังปลานิล โดยระบุการแพร่กระจายโดยเทคนิคการแสดงออกทางพันธุกรรม In situ hybridyzation และพบว่าสาเหตุการติดเชื้อน่าจะผ่านการทำลายระบบไหลเวียนเลือดเข้าสู่ระบบหมุนเวียนน้ำเลี้ยงสมองและไขสันหลัง ทำให้เกิดอาการผิดปกติทางระบบประสาท ชื่องานวิจัยภาษาไทย การตรวจหาตำแหน่งของไวรัสทิลาเปีย ทีลาปีนไวรัส ในสมองปลานิลที่ทดลองติดเชื้อ Abstract Tilapia tilapinevirus or tilapia lake virus (TiLV) is an emerging virus that inflicts significant mortality on […]
-
Betulinic Acid Modulates the Expression of HSPA and Activates Apoptosis in Two Cell Lines of Human Colorectal Cancer
Highlight: สาร Betulinic acid ชักนำให้เซลล์มะเร็งลำไส้ 2 ชนิด คือ HCT116 และ SW480 เกิดการตายแบบ apoptosis โดยลดการแสดงออกของ HSP70 เป็นต้น Abstract Betulinic acid (BA) is a pentacyclic triterpene usually isolated from botanical sources. Numerous […]
-
Exerting DNA Damaging Effects of the Ilimaquinones through the Active Hydroquinone Species
Highlight: สาร ilimaquinone มีความเป็นพิษต่อเซลล์มะเร็งต่อมลูกหมากโดยทำให้ DNA ของเซลล์มะเร็งเสียหาย ผ่านกระบวนการ in-situ transformation ไปเป็นสาร active hydroquinones Abstract Possessing the quinone moiety, ilimaquinone (1), a sponge–derived sesquiterpene quinone, has been hypothesised to express its cytotoxicity […]
-
A reverse form of Linburg–Comstock variation with comments on its etiology and demonstration of interactive 3D portable document format
Highlight: งานวิจัยนี้ใช้เทคโนโลยีสามมิติเพื่อรายงานโครงสร้างผันแปรโครงสร้างหนึ่ง (a reverse form of Linburg–Comstock variation) ซึ่งผู้อ่านสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับโครงสร้างนี้ได้โดยตรง การรายงานผลงานวิจัยแบบใหม่นี้อาจเป็นบรรทัดฐานใหม่ของการนำเสนอข้อมูลทางกายวิภาคในอนาคต ที่มาและความสำคัญ ปัจจุบันการสแกนภาพแบบสามมิติ เป็นเทคโนโลยีที่มีการนำไปใช้อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในด้านการศึกษา ที่ผ่านมาได้มีการนำเทคโนโลยีการสแกนภาพสามมิติมาใช้จัดทำเป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนกายวิภาคศาสตร์ และพบว่าส่งผลให้ผู้เรียนสามารถจดจำเนื้อหาและระบุตำแหน่งของโครงสร้างต่าง ๆ ได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งนอกจากเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการเรียนการสอนแล้วยังเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับสถาบันการศึกษาที่กำลังประสบปัญหาขาดแคลนร่างอาจารย์ใหญ่หรือไม่สามารถดำเนินการจัดการเรียนการสอนแบบ on-site ได้ในช่วงสภาวะการระบาดของโรคโควิด-19 นี้ อย่างไรก็ตาม การนำเทคโนโลยีสแกนภาพสามมิติมาใช้ในเชิงวิจัยยังมีไม่มากนัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำภาพสแกนสามมมิติมาใช้เพื่อเป็นเครื่องมือในการนำเสนอผลงานวิจัยทางกายวิภาคศาสตร์ ยังไม่เคยพบว่ามีการนำมาใช้ ซึ่งปกติงานวิจัยทางด้านกายวิภาคศาสตร์จะใช้การนำเสนอ รายงานผล แบบรูปภาพสองมิติ (2D) […]
-
-
-
-
-
-